บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2013

ทักษิณแปรรูปรัฐวิสาหกิจ “ ขายชาติ ชาติจะหายนะ ” จริงหรือ ???

รูปภาพ
สารบัญบล็อก เรื่องนี้ผมเคยเขียนลงบน webboard ของ IF และ Prachatalk ในช่วงคุณยิ่งลักษณ์หาเสียงเลือกตั้งเมื่อปี 54 การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ ถูกกล่าวหาว่าขายทรัพย์สมบัติของชาติ และอีกหลายๆวาทะกรรมที่ช่วยกันประดิษฐ์ขึ้นมาเพื่อทำลายนายกทักษิณ รัฐวิสาหกิจก็คือ ธุรกิจที่รัฐเป็นเจ้าของ ต่อมาต้องการให้เอกชนมาร่วมลงทุนด้วย ดังนั้นต้องไปจดทะเบียนจัดตั้งเป็นบริษัท ทุนจดทะเบียนเป็นเท่าใด เช่น 1,000 ล้านหุ้น ราคาตามมูลค่าหุ้นละ 10 บาท แล้วนำหุ้นออกขายให้เอกชน จำนวนหุ้นที่นำออกขายให้เอกชนต้องน้อยกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นทั้งหมด เช่น ของปตท. กระทรวงการคลังเป็นผู้ถือหุ้น 52% ของหุ้นทั้งหมด ส่วนอีก 48% นำออกขายให้เอกชน รัฐจะต้องถือหุ้นไว้ให้เกินกว่าครึ่งหนึ่งของจำนวนหุ้นทั้งหมด เพื่อให้สามารถกำหนดนโยบายการจัดการของบริษัทได้นั่นเอง เพราะว่าการโหวตในเรื่องต่างๆ เช่น เลือกกรรมการบริษัท เขานับจำนวนโหวตที่จำนวนหุ้น ไม่ได้นับตามจำนวนมือของผู้ถือหุ้นที่ยก ดังนั้น การโหวตเรื่องต่างๆรัฐบาลจะชนะทุกครั้ง Eแตงโม มรึงถือหุ้นอยู่ 9 หุ้น เท่ากับ 9 คะแนน ไอ้แดงมันถือหุ้น 10,000 หุ้น เท่ากับ 10,000 คะแนน Eแตงโม E...

Amzy R. Nirvana

รูปภาพ
สารบัญบล็อก พรหมลิขิตชีวิต Goo Goo กับ การเมือง สารบัญบล็อก

แก้ไขที่พิมพ์ผิดหนังสือบัญชีขั้นต้น สำหรับการพิมพ์ครั้งที่ 4

สารบัญบล็อก แบบฝึกหัดสำหรับภาคผนวก พิมพ์ครั้งที่ 4 แยกพิมพ์เป็น 3 ครั้ง พิมพ์ครั้งแรก (4/1) มีที่ผิด ส่วนการพิมพ์เพิ่มเติม (4/2 , 4/3) ได้มีการแก้ไขส่วนที่พิมพ์ผิดแล้ว A1-6 (หน้า 228) ให้ทำ 2. งบกระทบยอดเงินฝากในธนาคาร ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 แก้เป็น 31 กรกฎาคม 2554 A1-7 (หน้า 229) ให้ทำ งบกระทบยอดเงินฝากในธนาคาร ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2554 แก้เป็น 31 ธันวาคม 2554 A3-1 (หน้า 234) ให้ทำ 2.2) เมื่อนำไปขายลดวันที่ 23 มีนาคม 2555 แก้เป็น 23 กุมภาพันธ์ 2555 A3-3 (หน้า 234) ต.ค. 4 แก้เป็น พ.ย. 4 พิมพ์ผิดทัี้ง 3 รุ่น (ตรวจพบหลังจากการพิมพ์ครั้งที่ 4/3 ไปแล้ว) A1-2 (หน้า 225) ให้ทำ 1. งบกระทบยอดเงินฝากในธนาคาร ณ วันที่ 31 พฤษภาคม 2554 แก้เป็น 31 ตุลาคม 2554 สารบัญบล็อก

สถิติผู้ใช้ Facebook ในไทย

รูปภาพ
สารบัญบล็อก สถิติผู้ใช้ Facebook ในไทย ปี 2008 2009 2010 2011 2012 2013 จำนวนผู้ใช้ (ล้านราย) 0.17 1.96 6.73 13.28 17.47 18.20 ลำดับในโลก 27 23 21 16 15 13 จำนวนผู้ใช้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีก่อน (%) 1,063.80 242.89 97.18 31.60 4.18 ยอดจำนวนผู้ใช้ ปี 2008 - 2011 ( สิ้นปี)    ปี 2012 (29 ต.ค.)    ปี 2013 (22 ก.พ.) Facebook Users (22/02/2013) Rank Country Millions 1 United States 163.07 2 Brazil 66.55 3 India 61.50 4 Indonesia 47.17 5 Mexico 39.95 6 Turkey 32.44 7 United Kingdom 32.18 8 Philippines 30.09 9 France 25.31 10 Germany 25.06 11 Italy 23.03 12 Argentina 20.40 13 Thailand 18.20 14 Canada 18.00 15 Colombia 17.69 ที่มาของข้อมูล >>>  ...

เครดิตภาษีเงินปันผล >>> รับค่าภาษีคืน

รูปภาพ
สารบัญบล็อก เรื่องนี้เคยเขียนไว้ที่เว็บบอร์ดของ prachatalk.com เมื่อวันที่ 26/12/2012 เครดิตภาษีเงินปันผล เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับ ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่บริษัทต่างๆจ่ายให้กับรัฐ และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาที่ผู้ถือหุ้นต้องจ่ายให้รัฐ อันเนื่องมาจากได้รับเงินปันผลจากบริษัท เพื่อให้ทำความเข้าใจได้ง่าย ขอลำดับเรื่องราวเป็นข้อๆ เริ่มต้นด้วยแนวคิดก่อน แล้วค่อยต่อด้วยเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการคำนวณ บุคคลธรรมดานำเงินไปลงทุนในบริษัท (เช่น จ่ายเงินซื้อหุ้น 1 หุ้นราคา 100 บาท เรียกผู้ซื้อหุ้นว่า ผู้ถือหุ้น) บริษัทนำเงินทุนที่ได้จากผู้ถือหุ้นไปทำการค้าขายเกิดกำไร กำไรของบริษัทก็คือกำไรของผู้ถือหุ้น พูดง่ายๆแบบชาวบ้านก็คือเป็นเงินได้ของผู้ถือหุ้นนั่นเอง เมื่อมีกำไรบริษัทต้องจ่ายภาษีให้รัฐ (ภาษีเงินได้นิติบุคคล) ก็เท่ากับว่า ผู้ถือหุ้นจ่ายภาษีเงินได้ให้รัฐผ่านทางบริษัทนั่นเอง กำไรที่เหลืออยู่หลังจากที่บริษัทจ่ายภาษีไปแล้ว ก็จะนำไปจ่ายให้แก่ผู้ถือหุ้นซึ่งเรียกว่าเงินปันผล เงินปันผลที่ได้รับถือเป็นรายได้ของผู้ถือหุ้น ดังนั้นต้องเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราภาษีเงินได้นิติบุคคลที่บริษัทจ่าย...

เปรียบเทียบการเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา อัตราเดิม vs อัตราใหม่

สารบัญบล็อก เรื่องนี้เคยเขียนที่เว็บไซต์ Prachatalk.com เมื่อ 25/12/2012 เงินได้สุทธิ (บาท) อัตราภาษี (%) ภาษีที่เสียลดลงต่อปี (บาท) เดิม ใหม่ 1 - 150,000 ได้รับการยกเว้น ได้รับการยกเว้น 150,001 - 300,000 10 5 7,500 300,001 - 500,000 10 10 500,001 - 750,000 20 15 12,500 750,001 - 1,000,000 20 20 1,000,001 - 2,000,000 30 25 50,000 2,000,001 - 4,000,000 30 30 4,000,000 ขึ้นไป 37 35 2% ของส่วนที่เกิน 4 ล้านบาท เงินได้สุทธิ หมายถึง เงินได้พึงประเมิน (เช่น เงินเดือน ฯ) หัก ค่าใช้จ่ายและค่าลดหย่อนต่างๆ ไม่เห็นด้วยเป็นอย่างยิ่งกับการลดอัตราการจัดเก็บภาษีสำหรับเพดานสูงสุด (4 ล้านบาทขึ้นไป) ลง 2% ผมว่าถ้ารัฐบาลยังคงจัดเก็บที่อัตรา 37% เช่นเดิม ก็คงไม่มีเศรษฐีคนไหนมาต่อว่ารัฐบาล สองมาตรฐาน หรอก เพราะได้รับการลดภาระภาษีเช่นกันคือปีละ 70,000 บาท คนโสดมีรายได้จากเงินเดือ...